ประเภทของความร่วมมือ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของมนุษยชาติ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ จำแนกเป็น 4 ประเภท ดังนี้


3. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ มีลักษณะเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศและเขตการค้าเสรี เช่น สหภาพยุโรป (EU), นาฟตา (NAFTA) และ อาฟตา (AFTA) เป็นต้น

ยูนิเซฟ (UNICEF) หรือกองทุนเด็กแห่งประชาชาติ เป็นต้น
แนวทางการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การสร้างความร่วมมือในเชิงสร้างสรรค์ (Positive) เป็นแนวทางโดยสันติวิธีและเกิดผล
อย่างยืนยาว มีดังนี้
1. การจัดตั้งองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) และองค์การการค้าโลก (WTO) เป็นต้น
2. การจัดทำกฎหมายระหว่างประเทศ หรือข้อตกลงร่วมกัน เช่น ข้อตกลงเกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน กฎหมายอาชญากรสงคราม เป็นต้น
3. การทูต มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตขั้นปกติ มีสถานเอกอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตทำหน้าที่เป็นตัวแทนของประเทศ
2. การจัดทำกฎหมายระหว่างประเทศ หรือข้อตกลงร่วมกัน เช่น ข้อตกลงเกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน กฎหมายอาชญากรสงคราม เป็นต้น
3. การทูต มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตขั้นปกติ มีสถานเอกอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตทำหน้าที่เป็นตัวแทนของประเทศ
4. การควบคุมและลดกำลังอาวุธ มีการเจรจาจำกัดการสะสมหรือการทดลองขีปนาวุธต่าง ๆ เพื่อป้องกันมิให้เกิดความหวาดระแวงต่อกัน
5. ความร่วมมือทางด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ เช่น การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic) การแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ เป็นต้น
5. ความร่วมมือทางด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ เช่น การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic) การแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ เป็นต้น
2. การสร้างความร่วมมือที่ไม่สร้างสรรค์ (Negative) เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศที่ไม่ใช้แนวทางสันติวิธี แต่เป็นลักษณะการต่อต้านและใช้กำลัง หรือไม่ติดต่อคบค้าด้วย (Boycott)
2. การใช้กำลังทางทหารเข้าบังคับ หรือการทำสงคราม มี 2 ระดับ คือ
(1) สงครามจำกัดขอบเขต (Limited War) โดยใช้กำลังทางทหารเข้าปฏิบัติการในระยะเวลาและพื้นที่อันจำกัด เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามเสียหายมากนัก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามปฏิบัติตามนโยบายของตนเท่านั้น เมื่อบรรลุวัตถุประสงค์ก็ถอนตัวกลับ เช่น สงครามขับไล่อิรักออกจากการยึดครองคูเวตของกองกำลังสหประชาชาติ (UN) โดยการนำของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ.1990
(2) สงครามเบ็ดเสร็จ (Absolute War) เป็นสงครามที่ประเทศมหาอำนาจใช้กำลังทางทหารเข้ายึดและครอบครองดินแดนแห่งนั้นไว้ตลอดไป โดยเข้าไปจัดระเบียบการปกครองใหม่ตามความต้องการของตน และตักตวงผลประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติและอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน ฯลฯ ในช่วงการขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เป็นต้น
เนื้อหาดี และ มีรูปภาพประกอบทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ตอบลบเนื้อหาดีอ่านแล้วเข้าใจ
ตอบลบอ่านง่าย ทำให้เข้าใจง่าย
ตอบลบมีภาพประกอบ ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น
ตอบลบสวยงาม รูปภาพทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ตอบลบเนื้อหากระทัดรัดดีนะคะ
ตอบลบเนื้อหาเข้าใจง่ายดีนะครับ
ตอบลบแบ่งเนื้อหาได้ดี
ตอบลบ